คณาจารย์ทีมโครงการวิจัย ไผ่กับการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัย จาก อพสธ. 

คณาจารย์ทีมโครงการวิจัย ไผ่กับการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัย จาก อพสธ.  

คณาจารย์ทีมโครงการวิจัย ไผ่กับการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัย จาก อพสธ.  

คณาจารย์ทีมโครงการวิจัย ไผ่กับการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ ได้รับทุนสนับสนุนวิจัย จาก อพสธ. 

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์ที่ได้รับทุนสนับสนุนวิจัย จาก โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีงบประมาณ 2566 (อพสธ.) ทุนวิจัยจำนวน 880,000 บาท (ชุดโครงการวิจัยที่ร่วมกับ 4 สำนักวิชา) ชุดโครงการวิจัย “ไผ่กับการใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ Creative Living with Bamboo”

โดยทีมนักวิจัยจากสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ รองศาสตราจารย์ ดร.วิรุจ ถิ่นนคร , ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปรัชญา กฤษณะพันธ์ ,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภานุวัฒน์ สวัสดี ,อาจารย์นริสา น้อยทับทิม,ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุผาณิต วิเศษสาธร,อาจารย์ประภัสสร แซมมงคล,อาจารย์รจนา วัฒนศิลป์,รองศาสตราจารย์บรรจงศักดิ์ พิมพ์ทอง,ผู้ช่วยศาสตราจารย์จาตุรันต์ พิบูลย์,อาจารย์สุริณี กิ่งกาด,อาจารย์ช่อทิพย์ สิงหมาตย์,ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ, อาจารย์ชิติพัทธ์ เปรมสง่าและรองศาสตราจารย์จันทนี เพชรานนท์

ขอแสดงความยินดีกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ  ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 98

ขอแสดงความยินดีกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ  ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ 

ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ  ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 98
สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีอย่างเป็นทางการ กับผู้ช่วยศาสตราจารย์ภริตพร แก้วแกมเสือ อาจารย์ประจำสาขาการออกแบบภายใน ร่วมกับ อาจารย์ณัฐกานต์ แสงแก้ว และ Van Louis Lo Faculty of Education, Sultan Qaboos University, Muscat 123, Oman กับบทความวิจัย เรื่อง “Impact of Beliefs and Arts on the Cultural Landscape : The Case of Wat Chedi’s Stucco Chickens of Thailand” ที่ได้การเผยแพร่ในวันที่: 31 December 2023, Vol.10(12), in ISVS e-journals according to SCOPUS Q1 percentile: 87
โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์

โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์

โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์

โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์
โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์
โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สาขาการออกแบบภายใน โดย ผศ.ภริตพร แก้วแกมเสือ ด้วยงบสนับสนุนโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ อพ.สธ.-มวล.ประจำปีงบประมาณ 2566  “โครงการศึกษาการย้อมผ้าด้วยพันธุ์พืชในสวนสมรมและแนวทางการพัฒนาสู่ผลิตภัณฑ์เชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กรณีศึกษา: พื้นที่เขตตำบลฉลอง จ.นครศรีธรรมราช” ได้ลงพื้นที่ทดลองการให้สีของพืชพันธุ์ต่างๆและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมด้วยสีจากธรรมชาติ พื้นที่ชุมชน ต.ฉลอง อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช  โดยใช้กลุ่มมัดย้อมสิชล เป็นกรณีศึกษาและการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการได้พัฒนาสู่การเป็นผู้ประกอบการที่มีศักยภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้สู่สมาชิกชุมชนและผู้สนใจได้ 

โครงการได้ให้ความช่วยเหลือแก่ชุมชนท้องถิ่นในการสนับสนุนธุรกิจ กลุ่มผ้ามัดย้อมสิชล เกี่ยวกับการจัดทำธุรกิจผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมด้วยสีจากธรรมชาติที่ยั่งยืนทางสังคมผ่านกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม โดยการให้คำปรึกษา การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ  และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ร่วมกันกับนักศึกษาอาสาสมัครสาขาการออกแบบภายใน โดยเริ่มด้วยการเก็บข้อมูลด้านภูมิปัญญาการย้อมผ้าด้วยสีธรรมชาติของกลุ่ม ผู้วิจัยทำการศึกษาเพิ่มเติมถึงพืชพันธุ์และวัสดุจากธรรรมชาติต่างๆในพื้นที่ ตำบลฉลอง ที่สามารถนำมาใช้ย้อมสีผ้า ผลคือจากพืชพันธุ์ในสวนสมรม ของเหลือทิ้งจากวิสาหกิจชุมชน และดอกดาวเรืองเหลือทิ้งจากกิจกรรมการไหว้พระขอพร จากวัดเจดีย์(ไอ้ไข่)  ทำการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูล นำผลที่ได้มาถ่ายทอดสู่กลุ่ม  จากนั้นให้คำปรึกษาด้านการพัฒนากระบวนวิธีการย้อมให้หลากหลายและมีเอกลักษณ์  การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจำหน่าย การนำเสนอผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างโอกาสทางด้านรายได้ รวมถึงการฝึกผู้นำกลุ่มให้สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเอง รวมถึงการถ่ายทอดสู่กลุ่มผู้สนใจอื่นได้  โดยกระบวนการทั้งหมดไม่มีค่าใช้จ่าย

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์สุริณี กิ่งกาด และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์สุริณี กิ่งกาด และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์สุริณี กิ่งกาด และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์สุริณี กิ่งกาด และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์สุริณี กิ่งกาด อาจารย์ประจำสาขาการออกแบบภายในและ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี หัวหน้าสาขาการออกแบบภายใน สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ” Adaptations of Colonial Buildings to Modern Contexts in the Seaport Areas of Southern Thailand” Published: 8 July 2023 ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87


School of Architecture and Design, Walailak University Congratulations to Aj.Surunee Kingkad Lectuer of the Interior Design Program and Assistant Professor Panuwat Sawasdee, Head of the Interior Design Program, School of Architecture and Design, Walailak University, Thailand. that has been published in research article ” Adaptations of Colonial Buildings to Modern Contexts in the Seaport Areas of Southern Thailand”
Publication date: 8 July 2023, in ISVS e-journals according to SCOPUS Q1 percentile: 87

Congratulations to Aj Narisa Noithaptim and Assistant Professor Thanasun Tapparut for publishing in ISVS e-jornals,Scopus Q1 percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย  

ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

Congratulations to Aj Narisa Noithaptim and Assistant Professor Thanasun Tapparut for publishing in ISVS e-jornals,Scopus Q1 percentile 87

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ ผู้ช่วยคณบดีสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ร่วมกับ ศาสตราจารย์ สุพัฒน์ บุณยฤทธิกิจ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และ Mohammad Eisa Ruhullah, Ph.D. Researcher at International Institute of Islamic Thought and Civilization –International Islamic University Malaysia ( ISTAC-IIUM ) ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย “The Impact of Sea Breeze on the Islamic Vernacular Houses: The Settlements of Tha-Sala in Southern, Thailand.” Published: 8 June 2023 ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ทีมอาจารย์สาขาการออกแบบภายใน ลงสำรวจพื้นที่ต.แม่เจ้าอยู่หัว

งานบริการวิชาการและงานวิจัย

ทีมอาจารย์ สาขาการออกแบบภายใน ลงสำรวจพื้นที่ต.แม่เจ้าอยู่หัว

          ทีมอาจารย์ จากสาขาการออกแบบภายใน            สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ                      มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

        ลงสำรวจพื้นที่และประชุมร่วมกับนายอำเภอ,

      กลุ่มผู้นำชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับ

   งานบริการวิชาการและงานวิจัย เพื่อการพัฒนาพื้นที่        ต.แม่เจ้าอยู่หัว อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช

                      (19 ม.ค. 2565)

ผลงานสำนักวิชาสถาปัตยกรรมฯ ได้รับประกาศให้เป็น Was shortlisted as the top entry for Thailand.

ผลงานของสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ได้รับประกาศให้เป็น Was shortlisted as the top entry for Thailand.

               ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ 

                 อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
(รักษาการแทนคณบดีสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ)

ร่วมแสดงความยินดีกับ อาจารย์สุผาณิต วิเศษสาธร และ อาจารย์จาตุรันต์ พิบูลย์ อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ในโอกาสได้รับรางวัลจากการส่งผลงาน Developments of teaching and learning BIM technology in School of Architecture and design, Walailak University ซึ่งเป็นผลงานการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม เข้าร่วมประกวดในงาน Autodesk ASEAN Innovation Awards 2021 สาขา Future Pillar Award โดยได้รับรางวัล The top entry for Thailand

 

BIM technology กับงานออกแบบสถาปัตยกรรม

            สาขาสถาปัตยกรรม เเละสาขาการออกแบบภายใน

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

>>     เข้าประกวดในงาน Autodesk ASEAN Innovation Awards 2021

                           ในสาขา Future Pillar Award

>> ผลงานของสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบได้รับประกาศให้เป็น Was shortlisted as the top entry for Thailand.