สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ เข้าพบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ เพื่อพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ในเมืองนครศรีฯ

สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ เข้าพบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ในเมืองนครศรีฯ

สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ เข้าพบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่อพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ในเมืองนครศรีฯ

สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ เข้าพบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ เพื่อพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ในเมืองนครศรีฯ
สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ เข้าพบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีฯ เพื่อพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่ในเมืองนครศรีฯ
สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ นำโดย รศ.ดร.วิรุจ ถิ่นนคร รักษาการแทนคณบดี, ผศ.ปรัชญา กฤษณะพันธ์ รักษาการแทนรองคณบดี, ผศ.ภานุวัฒน์ สวัสดี หัวหน้าสาขาวิชาการออกแบบภายใน, รศ.บรรจงศักดิ์ พิมพ์ทองและ รศ.จันทนี เพชรานันท์ โดยมี รศ.ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ รองอธิการบดี นำทีมเข้าพบพูดคุยความต้องการในการพัฒนาพื้นที่อำเภอเมืองนครศรีธรรมราชกับ ท่านขจรเกียรติ รักพานิชมณี ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช (1 สำนักวิชา/วิทยาลัย 1 อำเภอ) ตามนโยบายที่จะนำไปสู่การจัดทำแผนงานวิจัยและนวัตกรรม การบริการวิชาการที่สอดคล้องกับการเป็นองค์การธรรมรัฐ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ทั้งนี้เพื่อประเด็นที่ได้รับจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดไปสู่การพัฒนาโจทย์วิจัย สำหรับการเตรียมโครงร่างงานวิจัย เสนอแหล่งทุนต่างๆ ต่อไป
ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์รักสิริ แก้วเทวี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์รักสิริ แก้วเทวี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์รักสิริ แก้วเทวี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87

ขอแสดงความยินดีกับอาจารย์รักสิริ แก้วเทวี ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย ในวารสารนานาชาติที่อยู่ในฐาน SCOPUS Q1 : Percentile 87
สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์รักสิริ แก้วเทวี ร่วมกับ Mr.Sheng-Yang Huang (The Bartlett School of Architecture, University College London) ผู้ช่วยศาสตรจารย์ดร.รวินทร์ ถิ่นนคร, รองศาสตราจารย์.ดร.วิรุจ ถิ่นนคร และ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับการตีพิมพ์บทความวิจัย “Shophouse Façades on Ratchadamnoen Road in Southern Thailand: A Taxonomic Study to Produce a Dataset for AI modelling” ในวันที่  31 ตุลาคม 2566 ,Vol.10(10), ในวารสาร ISVS e-journals according to SCOPUS Q1 percentile: 87
 
รักษาการแทนคณบดีและรักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27

รักษาการแทนคณบดีและรักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27

รักษาการแทนคณบดีและรักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27

รักษาการแทนคณบดีและรักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27
รักษาการแทนคณบดีและรักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27
รองศาตราจารย์ ดร.วิรุจ ถิ่นนคร รักษาการแทนคณบดีและผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรัชญา กฤษณะพันธ์ รักษาการแทนรองคณบดี เข้าร่วมการประชุมสามัญสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (สัญจร) ปีที่ 27 ในวันเสาร์ที่ 4 และวันอาทิตย์ที่ 5 พฤศจิกายน 2566 พร้อมด้วย ศาสตราจารย์ ดร. ระวิวรรณ โอฬารรัตนมณี ประธานสภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย และสมาชิกสภาคณบดีฯ จำนวนกว่า 30 สถาบันการศึกษา ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต โดยมีวาระประชุมที่สำคัญในหลายประเด็น อาทิเช่น ทิศทางและแนวโน้มของวิชาชีพสถาปัตยกรรมและการออกแบบ,ผลการดำเนินกิจกรรมของสภาในรอบปี, ข้อมูลผลงานของมหาวิทยาลัยต่างๆ ในปีการศึกษา 2565 เป็นต้น ทั้งนี้ผลงานที่โดดเด่นและน่ายินดีของสำนักวิชา ได้แก่ อัตราการสำเร็จการศึกษาตามแผนติด 1 ใน 3 ของประเทศ, คณาจารย์มีตำแหน่งทางวิชาการเกินร้อยละ 50 และประเด็นที่สำคัญคือจำนวนผลงานวิชาการต่อจำนวนอาจารย์ ติดอันดับ 1 ใน 5 ของประเทศสองปีซ้อนและมีแนวโน้มดีขึ้นเรื่อยๆต่อไป
สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง บรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง บรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง บรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง บรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง บรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สถาปัตย์ มวล.บุกกรุง!!! ภาพบรรยากาศการประชาสัมพันธ์หลักสูตรของสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบร่วมกับศูนย์บริการการศึกษา ณ วันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2566 ในการแนะแนวทางการศึกษาต่อในสำนักวิชา ทั้งสาขาสถาปัตยกรรมและสาขาการออกแบบภายใน ให้กับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย หลากหลายโรงเรียน ในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อาทิเช่น โรงเรียนวัดเทพลีลา โรงเรียนกาญจนาภิเษก โรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม โรงเรียนบางกะปิ โรงเรียนสิริรัตนาธร และโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า
รักษาการเเทนรองคณบดีเเละคณาจารย์ เข้าร่วมงานเสวนา TOPCON & VRC ROADSHOW 2023 พร้อมกิจกรรมสาธิตเครื่องมือสำรวจ ในหัวข้อ “Responding to Thailand NEW ERA”

รักษาการเเทนรองคณบดีเเละคณาจารย์ เข้าร่วมงานเสวนา TOPCON & VRC ROADSHOW 2023 พร้อมกิจกรรมสาธิตเครื่องมือสำรวจ ในหัวข้อ “Responding to Thailand NEW ERA”

รักษาการเเทนรองคณบดีเเละคณาจารย์ เข้าร่วมงานเสวนา TOPCON & VRC ROADSHOW 2023 พร้อมกิจกรรมสาธิตเครื่องมือสำรวจ ในหัวข้อ “Responding to Thailand NEW ERA”

รักษาการเเทนรองคณบดีเเละคณาจารย์ เข้าร่วมงานเสวนา TOPCON & VRC ROADSHOW 2023 พร้อมกิจกรรมสาธิตเครื่องมือสำรวจ ในหัวข้อ “Responding to Thailand NEW ERA”
สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ร่วมจัดกิจกรรมภายใต้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาคเอกชน และคุณทามูระ มาซาฮิโระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ท็อปคอน โพซิชั่นนิ่ง เอเชีย (ไทยแลนด์) จำกัด Topcon Positioning Thailand และร่วมกับบริษัท วีอาร์คอนซัลแตนท์แอนด์เซอร์วิส
จำกัด VR Consultants and Services Co.,Ltd. ผู้นำด้านเทคโนโลยีและเครื่องมือสำรวจ จัดงานเสวนา TOPCON & VRC ROADSHOW 2023 พร้อมกิจกรรมสาธิตเครื่องมือสำรวจ ในหัวข้อ “Responding to Thailand NEW ERA” ในวันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 12:30 – 17:30 น. ที่ผ่านมา ณ โรงแรมบูกิตตา บูทีค โฮเทล ภูเก็ต ห้องประชุมบูกิต อันดา
 
ทั้งนี้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรัชญา กฤษณะพันธ์ รักษาการแทนรองคณบดี ได้กล่าวรายงานวัตถุประสงค์และะรายละเอียดการจัดงาน โดยได้รับเกียรติจาก คุณคำรน สุทธิ กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ จังหวัดภูเก็ต เป็นประธานกล่าวเปิดงาน ภายในงานมีการบรรยาย อัพเดตเทรนด์เครื่องมือสำรวจที่จะช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมถึงแพลตฟอร์มสำหรับการจัดการควบคุณคุณภาพ และซอฟต์แวร์สำหรับการประมวลผล BIM โดย รองศาสตราจารย์วิวัฒน์ อุดมปิติทรัพย์ อาจารย์สาขาสถาปัตยกรรม เป็นวิทยากรบรรยายในครั้งนี้ และยังมีหัวข้อการบรรยายที่อัพเดตเทคโนโลยีด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบอีกมากมาย
อาจารย์ประจำสาขาสถาปัตยกรรม สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนตามกรอบมาตรฐาน UKPSF ระดับ Fellow (FHEA)

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ประภัสสร แซมมงคล และ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนตามกรอบมาตรฐาน UKPSF ระดับ Fellow (FHEA)

ขอแสดงความยินดีกับ อาจารย์ประภัสสร แซมมงคล และ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม                                                                                                        ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนตามกรอบมาตรฐาน UKPSF ระดับ Fellow (FHEA)

อาจารย์ประจำสาขาสถาปัตยกรรม สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนตามกรอบมาตรฐาน UKPSF ระดับ Fellow (FHEA)

เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2566 ที่ผ่านมา ในพิธีก่อนวาระการประชุมอาจารย์ประจำสำนักวิชา ครั้งที่ 10/2566 รองศาสตราจารย์ ดร.วิรุจ ถิ่นนคร รักษาการแทนคณบดี สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มอบช่อดอกไม้ แสดงความยินดีกับ อาจารย์ประภัสสร แซมมงคล และ อาจารย์นริสา น้อยทับทิม อาจารย์ประจำสาขาสถาปัตยกรรม สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานวิชาชีพเพื่อการสอนตามกรอบมาตรฐาน UKPSF ระดับ Fellow (FHEA)

The United Kingdom Professional Standards Framework (UKPSF) ประเทศอังกฤษ เป็นระบบการจัดการเรียนการสอนที่ได้มาตรฐานสากลและเป็นที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปทั้งนี้กรอบมาตรฐานวิชาชีพระดับอุดมศึกษา UKPSF ได้ถูกพัฒนาโดย The Higher Education Academy (HEA) หรือ Advance HE ในปัจจุบัน ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระระดับชาติในสหราชอาณาจักร เป็นกรอบที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์นำมาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ให้เป็นคณาจารย์มืออาชีพและมีการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล

บรรยากาศการนำเสนอ Project และผลงานนักศึกษา ในรายวิชา INT62-211 Interior Design II

บรรยากาศการนำเสนอ Project และผลงานนักศึกษา ในรายวิชา INT62-211 Interior Design II

บรรยากาศการนำเสนอ Project และผลงานนักศึกษา ในรายวิชา INT62-211 Interior Design II

บรรยากาศการนำเสนอ Project และผลงานนักศึกษา ในรายวิชา INT62-211 Interior Design II
บรรยากาศการนำเสนอ Project : และผลงานนักศึกษา ในรายวิชา INT62-211 Interior Design II การออกแบบภายใน 2 ของนักศึกษาชั้นปี 2 สาขาการออกแบบภายใน
ฝึกฝนทักษะการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทร้านคาเฟ่ โดยมีโจทย์ให้ นักศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างสรรค์ผลงานที่สอดค้ลองกับพฤติกรรมการใช้งานได้อย่างเหมาะสม ในการออกแบบปรับปรุงร้านคาเฟ่ในสวนมะพร้าว ที่เป็นมิตรกับสิ่งเเวดล้อม Eco-friendly cafe’
 
สอนโดย อาจารย์ณัฐกานต์ แสงแก้ว , อาจารย์ชิติพัทธ์ เปรมสง่า , อาจารย์สุริณี กิ่งกาด และอาจารย์ช่อทิพย์ สิงหมาตย์
ประเพณีบูมพี่บัณฑิตในโอกาสสำเร็จการศึกษา พิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา 2565

ประเพณีบูมพี่บัณฑิต สำนักวิชาสถาปัตยกรรมและการออกแบบ

ประเพณีบูมพี่บัณฑิต สำนักวิชาสถาปัตยกรรมและการออกแบบ

ประเพณีบูมพี่บัณฑิตในโอกาสสำเร็จการศึกษา พิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา 2565

สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตหลักสูตรสถาปัตกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรม และบัณฑิตหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาการออกแบบภายใน ในโอกาสสำเร็จการศึกษา ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา 2565 รวมถึงภาพบรรยากาศประเพณีบูมพี่บัณฑิต สำนักวิชาสถาปัตยกรรมและการออกแบบ

คณะผู้บริหารและทีมคณาจารย์ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบปี 2565 ในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร

คณะผู้บริหารและทีมคณาจารย์ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบปี 2565 ในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร

คณะผู้บริหารและทีมคณาจารย์ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบปี 2565 ในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร 

คณะผู้บริหารและทีมคณาจารย์ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบปี 2565 ในโอกาสเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร
Congratulation on your Graduation Day 
 
คณะผู้บริหารและทีมคณาจารย์สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ขอแสดงความยินดีกับบัณฑิตสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสจร์และการออกแบบ สาขาสถาปัตยกรรมและสาขาากรออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยวลยัลักษณ์ ปี 2565 ทุกคน ในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ประจำปีการศึกษา 2565 ณ หอประชุมใหญ่ อาคารไทยบุรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2565 
บรรยากาศการเรียน การทำงานเฟอร์นิเจอร์ต้นแบบและการนำเสนอผลงานปลายภาค ในรายวิชา INT62-331 การออกแบบเครื่องเรือน

บรรยากาศการเรียน การทำงานเฟอร์นิเจอร์ต้นแบบและการนำเสนอผลงานปลายภาค ในรายวิชา INT62-331 การออกแบบเครื่องเรือน

บรรยากาศการเรียน การทำงานเฟอร์นิเจอร์ต้นแบบและการนำเสนอผลงานปลายภาค ในรายวิชา INT62-331 การออกแบบเครื่องเรือน

บรรยากาศการเรียน การทำงานเฟอร์นิเจอร์ต้นแบบและการนำเสนอผลงานปลายภาค ในรายวิชา INT62-331 การออกแบบเครื่องเรือน
บรรยากาศการเรียน การทำงานเฟอร์นิเจอร์ต้นแบบ และการนำเสนอผลงานปลายภาค ในรายวิชา INT62-331 การออกแบบเครื่องเรือน เป็นรายวิชาที่ เน้นการฝึกปฏิบัติ ทดลองออกแบบเครื่องเรือน รวมถึงการใช้เครื่องมือเครื่องจักรในการทำผลงาน เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2566 ที่ผ่านมา ของน้องๆนักศึกษาชั้นปี 3 สาขาการออกแบบภายใน
โดยมีโจทย์ที่ชื่อว่า “Re-design x Re-use x Re-creation” เป็นการศึกษาและนำแนวคิดการออกแบบโต๊ะของ The great DESIGNER มาไอเดียในการสร้างสรรค์เครื่องเรือน ประเภท โต๊ะ 4-6 ที่นั่ง จากวัสดุเหลือทิ้งจากการรื้ออาคารบริหารของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยนำวัสดุประเภท กระจก บานประตู โครงเฟอร์เจอร์ ราวกั้นไม้ คิวไม้ เศษไม้อัด ราวจับไม้ เหล็กหลังคา เป็นวัสดุหลักของโครงการ ผสมผสานกับแผ่นไม้ยางพาราเป็นวัสดุรอง โดยสร้างประโยชน์ใช้สอยด้วยการทำให้โต๊ะเป็นมากกว่าโต๊ะ แต่ยังเป็นพื้นที่สันทนาการให้กับผู้ใช้งานด้วย
 
อาจารย์ผู้สอน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปรัชญา กฤษณะพันธ์,รองศาสตราจารย์ บรรจงศักดิ์ พิมพ์ทอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์จาตุรันต์ พิบูลย์