แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนะนำ/ติชม

แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนะนำ/ติชม

แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนะนำ/ติชม

แจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต แนะนำ/ติชม

คำแนะนำการร้องเรียน  

ในการร้องเรียนควรมีรายละเอียดให้ครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด เช่น

1. ชื่อและที่อยู่ของผู้ร้องเรียน

2. ชื่อหรือตำแหน่งของผู้ถูกร้องเรียน

3. ข้อร้องเรียนการกระทำความผิด

4. บรรยายพฤติการณ์การกระทำความผิดตามข้อกล่าวหาอย่างละเอียด เพื่อให้ทราบถึงวันเวลาที่กระทำความผิด รายละเอียดการกระทำความผิด พร้อมระบุพยานหลักฐานหรืออ้างพยานหลักฐานที่สามารถยืนยันหรือสนับสนุนการกล่าวหาร้องเรียนว่ามีอะไรบ้าง มีพยานบุคคลที่รู้เห็นเหตุการณ์ หรือไม่ เป็นผู้ใด อย่างไร ในเรื่องนี้ได้กล่าวหาร้องเรียนไปหน่วยงานใดหรือไม่ และเป็นผลประการใด

5. ควรป้อนข้อมูลเกี่ยวกับชื่อ – สกุล หมายเลขประจำตัวประชาชน ที่อยู่ โทรศัพท์ และอีเมล์ (e-Mail) ของผู้ร้องเรียนที่สามารถติดต่อได้ให้ชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับเพื่อยืนยันการกล่าวหาร้องเรียน ขอทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจนสามารถดำเนินการต่อไปได้ หรือเพื่อรายงานผลให้ท่านทราบ ข้อมูลของท่านจะถูกเก็บเป็นความลับอย่างที่สุด กรณีที่ไม่เปิดเผยชื่อ – สกุลจริงถือว่าเป็น “บัตรสนเท่ห์” ซึ่งหากไม่ระบุพยานหลักฐานชัดเจนเพียงพอที่จะดำเนินการไต่สวนข้อเท็จจริงได้ คณะกรรมการป.ป.ช. อาจไม่รับหรือยกเรื่องร้องเรียนดังกล่าวขึ้นพิจารณาได้

6. กรุณาลงทะเบียนเป็นผู้ร้องเรียน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับเพื่อยืนยันการร้องเรียน ขอทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจนขึ้น หรือเพื่อรายงานผลให้ท่านทราบ หรือเพื่อประโยชน์ในการติดตามเรื่องที่ท่านกล่าวหาร้องเรียน ข้อมูลของท่านจะถูกเก็บไว้เป็นความลับอย่างที่สุด

ผลงานนักศึกษาโครงการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมไทย

ผลงานนักศึกษาโครงการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมไทย

            โครงการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมไทย ร่วมกับรายวิชา ARC62​-322 สถาปัตยกรรมไทย

                     …………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ได้นำนักศึกษาเข้าไปร่วมสำรวจรังวัด พระอุโบสถและศาลาวัดในพื้นที่ลุ่มทะเลสาบสงขลา เขียนแบบและทำหุ่นจำลองเพื่อการศึกษาและตระหนักในคุณค่าสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นภาคใต้  โดยการให้นักศึกษา แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ในการสำรวจรังวัด วัดสีหยัง , วัดพังกก , วัดดีหลวง และ วัดสนามไชย อำเภอระโนด และ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

                     …………………………………………………………………………………………………………………………………………..

              ผู้สอน ผศ.ดร.สุภาวดี เชื้อพราหมณ์ ผศ.ธนสัณฑ์  เทพรัตน์ และ อ.ประกิจ ลัคนผจง

กลุ่มที่ 1

กลุ่มที่ 2

กลุ่มที่ 3

กลุ่มที่ 4

โครงการปฎิบัติการโครงสร้างไม้ 1:1

โครงการปฎิบัติการโครงสร้างไม้ 1:1

                       รวมภาพบรรยากาศการทำงาน ของน้องๆนักศึกษาชั้นปี 1 และ ชั้นปีที่ 2

         สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สาขาสถาปัตยกรรม  มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

                โครงการปฎิบัติการโครงสร้างไม้ 1:1 รายวิชา ARC62-131 การก่อสร้างอาคาร 1

  จัดทำโครการขึ้นเพื่อสงเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับนักศึกษาในการก่อสร้างอาคารไม้ ที่มีขนาดการใช้งานตามจริง

                                 …………………………………………………………………………………………………………..

สอนโดย ดร.ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาวดี เชื้อพราหมณ์  และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนสัณฑ์ เทพรัตน์ (อาจารย์พิเศษ)

ภาพการมอบเกียรติบัตรรางวัลชมเชย แก่นักศึกษาที่เข้าร่วมแข่งประกวดแบบ

ภาพการมอบเกียรติบัตรรางวัลชมเชย แก่นักศึกษาที่เข้าร่วมแข่งประกวดแบบทางเข้าสวนสาธารณะหาดใหญ่ ภายใต้แนวคิด "ไม่พรือ (Sbay Sbay) "

ภาพการมอบเกียรติบัตรรางวัลชมเชย แก่นักศึกษาที่เข้าร่วมแข่งประกวดแบบ

 

ขอแสดงความยินดีกับ  นายปริญญา ฆังคะสะเร และ  นางสาวพัสตราภรณ์ หวัดคล้าย นักศึกษาสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ที่ได้รับเกียรติบัตรรางวัลชมเชย เนื่องจากได้เข้าร่วมแข่งประกวดแบบ  หัวข้อ ทางเข้าสวนสาธารณะหาดใหญ่ ภายใต้แนวคิด “ไม่พรือ (Sbay Sbay) ” กับทางกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ

'' AWESOME ARCHITECTURE " ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ให้โลกจำ ครั้งที่ 3

” AWESOME ARCHITECTURE ” ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ให้โลกจำ ครั้งที่ 3

'' AWESOME ARCHITECTURE " ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ให้โลกจำ ครั้งที่ 3

                ” AWESOME ARCHITECTURE ”  ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ให้โลกจำ ครั้งที่ 3

                high rise building./Earthquake Resistant Structures./Building Technology.

            โดย อาจารย์ ดร. รวินทร์ ถิ่นนคร /อาจารย์สุผาณิต วิเศษสาธร /อาจารย์ประภัสสร แซมมงคล

Earthquake Resistant Structures.

การบอกเล่าเรื่องราวความสุดยอดของอาคารที่แข็งเเรงที่สุด ทนทานเเม้ว่าจะเกิดแรงแผ่นดินไหวสถาปนิกต้องออกแบบภายใต้ข้อจำกัดร่วมกับวิศวกรโดยไม่ละทิ้งความงามเชิงสถาปัตยกรรม

 

 

Sustainability and building technology.

การคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและการใช้พลังงาน กำลังกลายเป็นหัวข้อหลักสำหรับงานทางสถาปัตยกรรมในอนาคตอันใกล้อย่าง “2030 agenda for sustainable development” ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับสถาปนิก โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินอาคารที่ใช้อย่างแพร่หลายในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่อย่าง LEED อาจจะต้องนำมาใช้กับอาคารทั่วไป ดังนั้นเราจึงนำตึกสูงที่ได้รับรางวัล LEED platinum อย่าง Shanghai tower และเป็นตึกที่สูงเป็นดับสองของโลกมาให้รู้จักกัน

'' AWESOME ARCHITECTURE " ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างไร ให้โลกจำ ครั้งที่ 3

อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ

อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ ผู้ได้รับการเผยแพร่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย ในฐานข้อมูล Scopus ระดับ Q2

 

อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ ผู้ได้รับการเผยแพร่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย ในฐานข้อมูล Scopus ระดับ Q2

 

เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2565 ที่ผ่านมา ในพิธีก่อนวาระการประชุมอาจารย์ประจำสำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครั้งที่ 4/2565 ณ ห้องประชุมโมคลาน อาคารบริหาร ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ รักษการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ผู้ได้รับการเผยแพร่ตีพิมพ์ผลงานวิจัย ในฐานข้อมูล Scopus ระดับ Q2 จำนวน 3 ท่าน ได้แก่ 1.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุภาวดี เชื้อพราหมณ์ 2.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภานุวัฒน์ สวัสดี และ3.อาจารย์จาตุรันต์ พิบูลย์

อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ
อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ
อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ
อธิการบดี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มอบช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่อาจารย์สำนักวิชาสถาปัตย์ฯ
ผลงานนักศึกษา วิชา ARC59-422 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7

ผลงานนักศึกษา วิชา ARC59-422 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7

ผลงานนักศึกษา วิชา ARC59-422 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7

         

 

            ผลงานนักศึกษาวิชา ARC59-422

              การออกแบบสถาปัตยกรรม 7

                    Project Design

  BANGKOK PERFORMING ART CENTRE  ชั้นปีที่4

                    สาขาสถาปัตยกรรม                        สำนักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ

                  มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

                   

                                ออกแบบโดย

-นาย ณัฐวุฒิ ศรีบุญ 

-นางสาว ญาณิศา อินพฤกษา

-นางสาว สุวารี เส็นบัตร

-นางสาว สหัสมณี สุวรรณชาตรี

-นาย ธนัชชา เหมะ                              
                         

                               อาจารย์ผู้สอน

-อาจารย์ ดร.รวินทร์ ถิ่นนคร

-คุณรุจิรา ยมศรีเคน บริษัท Ananda development 

-คุณมัลลิกา มงคลรังสฤษฎ์ บริษัท Ananda development

-คุณเบญจมาศ อินทรสุวรรณ บริษัทมีดีไซน์แอนด์ไอ จำกัด

ผลงานนักศึกษา วิชา ARC59-422 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7
ผลงานนักศึกษา วิชา ARC59-422 การออกแบบสถาปัตยกรรม 7